วันเสาร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556

ถ่วงดุลอำนาจ


 ประชาธิปไตย คือ การปกครองที่อํานาจสูงสุดเปนของประชาชน โดยประชาชนทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการดําเนินชีวิตตามความพอใจของตนเองอยางเต็มที่แตตองไมไปละเมิดตอสิทธิของบุคคลอื่นหรือขัดตอกฎหมายในระบอบประชาธิปไตยทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพในการดําเนินชีวิตอยูภายใตกฎหมายรัฐธรรมนูญและมีหนาที่ภายใตขอบเขตของกฎหมายบัญญัติไว
อํานาจอธิปไตย
อํานาจอธิปไตย คือ อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเปนของประชาชนทุกคน แตเนื่องจากจํานวนของประชาชนมีมากมาย การจะใหประชาชนทุกคนมารวมกันบริหารประเทศยอมเปนไปไมไดประชาชนจึงตองแตงตั้งตัวแทนที่ตนเองเห็นวาเหมาะสมและจะรักษาผลประโยชนของตนเองและประเทศชาติไดเขาไปทําหนาที่แทน โดยพระมหากษัตริยทรงใชอํานาจ(แตงตั้ง)ทั้งสามนี้ผานกลุมผูใชอํานาจอธิปไตยแทนปวงชน
อํานาจอธิปไตยแบงเปน 3 อํานาจดังนี้
1.อํานาจนิติบัญญัติ
โดยพระมหากษัตริยทรงใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา ซึ่งผูที่จะใชอํานาจนี้
คือ กลุมบุคคลที่อาสามาเปนตัวแทนของปวงชนหลายๆ คนรวมตัวกันตั้งเปนพรรคการเมืองเสนอตัวบุคคลที่ทางพรรคเห็นวาเหมาะสมใหประชาชนเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (สส.) มีอํานาจในการออกกฎหมาย ยกเลิกแกไขเพิ่มเติมกฎหมายเพื่อใชในการบริหารประเทศ และปกปองสิทธิเสรีภาพของประชาชน รวมทั้งการสรางความเปนระเบียบเรียบรอยใหเกิดขึ้นแกสังคม กับบุคคลที่ไมสังกัดหรือเกี่ยวพันกับพรรคการเมืองลงสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา (สว.) มีหนาที่กลั่นกรองกฎหมายที่สภาผูแทนราษฎรบัญญัติขึ้น แตในเรื่องที่สําคัญมากๆ เกี่ยวของกับผลประโยชนของแผนดินสภาใดสภาหนึ่งไมมีอํานาจใหความเห็นชอบไดตองประชุมรวมทั้งสองสภา เรียกวารัฐสภา จึงใหความเห็นชอบไดเชน การประกาศสงคราม การรับฟงคําชี้แจงและการใหความเห็นชอบสนธิสัญญาเปนตน
2. อํานาจบริหาร 
พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งที่เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ตามมติ
คะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรและจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินสองวาระหรือเกินกวาแปดปมิได สุดแตระยะเวลาในการดํารงตําแหนงกรณีใดจะยาวกวากัน โดยประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นอีกไมเกินสามสิบหาคนประกอบเปนคณะรัฐมนตรีมีหนาที่บริหารราชการแผนดินตามหลักความรับผิดชอบรวมกัน
กอนที่คณะรัฐมนตรีจะเขาบริหารราชการแผนดินตองแถลงนโยบายตอรัฐสภาและชี้แจงการดําเนินการ
ตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐโดยไมมีการลงมติไววางใจ ทั้งนี้ภายในสิบหาวันนับแตวันเขารับหนาที่และเมื่อเขารับหนาที่แลวตองจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดินเพื่อกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการของแตละปี
3. อํานาจตุลาการ 
คือ อํานาจที่ใหแกศาลในการพิจารณา พิพากษาอรรถคดีความตางๆ ตามที่กฎหมาย
กําหนดไวโดยศาลมีหนาที่ใหความยุติธรรมแกทุกคนตามบทบัญญัติของกฎหมายที่ฝายนิติบัญญัติไดตราขึ้นมาใชโดยพระมหากษัตริยทรงใชอํานาจตุลาการผานทางศาลตางๆ
การถวงดุลอํานาจระหวางอํานาจอธิปไตย

ความสัมพันธหรือการถวงดุลอํานาจระหวางอํานาจอธิปไตยทั้ง 3 มีลักษณะ ดังนี้
1. ฝายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา นอกจากจะมีอํานาจดานนิติบัญญัติแลว ยังมีอํานาจควบคุมการบริหาร
ราชการแผนดินของฝายบริหาร หรือรัฐบาลใหเปนไปตามที่ฝายบริหารไดแถลงนโยบายตอรัฐสภา หรือเมื่อฝายนิติบัญญัติเห็นวาประชาชนไดรับความเดือดรอน หรือประชาชนมีความตองการความชวยเหลือแตฝายบริหารยังไมเขาไปแกปญหานั้นๆใหประชาชน สมาชิกผูแทนราษฎร (ส.ส.)หรือวุฒิสมาชิก (สว.) อาจยื่นกระทูถามฝายบริหารในสภาของตนสังกัดอยูไดแตถาฝายบริหารตําแหนงใด ๆ ตั้งแตนายกรับมนตรีหรือรัฐมนตรีวาการ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงใดหรือหลายๆ กระทรวงดําเนินการบริหารงานที่ฝายนิติบัญญัติเห็นวาผิดพลาดจนอันอาจจะกอใหเกิดความเสียหายตอประเทศ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรสามารถเขาชื่อกันไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของสมาชิกทั้งหมดขอเปด5
อภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรีหรือเขาชื่อกันไมนอยกวาหนึ่งในหาของสมาชิกทั้งหมดขอเปดอภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรีเปนรายบุคคล ซึ่งถาเสียงสวนใหญลงมติไมไววางใจใหนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีทานใดจะทําใหรัฐบาลหรือรัฐมนตรีผูนั้นพนสภาพจากตําแหนงนั้นทันที
2. ฝายบริหาร นอกจากมีอํานาจในการบริหารราชการแผนดินแลว ยังมีอํานาจในการออกกฎหมายบาง
ชนิดที่จําตองใชในการบริหารราชการแผนดนิ เชน พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงเปนตนและยังมีอํานาจที่จะควบคุมฝายนิติบัญญัติตามรัฐธรรมนูญไดใหอํานาจออกเปนพระราชกฤษฎีกายุบสภาคืนอํานาจใหแกประชาชน เพื่อใหมีการเลือกตั้งใหมแกฝายบริหาร
ถาประชาชนสวนใหญเห็นวารัฐบาลทําหนาที่ถูกตองแลว ประชาชนก็จะเลือกพรรคการเมืองที่เคยเปน
รัฐบาลนั้นเขามาเปนผูแทนของตนจํานวนมาก พรรคการเมืองนั้นก็จะมีสิทธิจัดตั้งรัฐบาลใหม แตถาประชาชนทั้งประเทศสวนใหญเห็นวารัฐบาลเดิมทําหนาที่บริหารไมถูกตอง ประชาชนก็จะเลือกพรรคการเมืองที่เคยเปนฝายคานเขามาเปนผูแทนของตนจํานวนมาก พรรคการเมืองที่เคยเปนฝายคานก็มีสิทธิในการจัดตั้งรัฐบาลบริหารประเทศ
3. ฝายตุลาการ เปนฝายเดียวที่มีความเปนอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตาง ๆ แตก็ตองพิจารณาพิพากษาตามตัวบทกฎหมายตาง ๆที่ฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารไดบัญญัติขึ้นใชในขณะนั้น

ไม่มีความคิดเห็น: